วันพุธที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
แบบทดสอบ CD-DVD-R/RW
1. 40Xตอบ 24/10/40X คือความเร็วในการบันทึกแผ่น CD-R สูงสุด ความเร็วในการบันทึกข้อมูลลงแผ่น CD-RW และความเร็วในการอ่านข้อมูลจากแผ่นซีดีโปรแกรม หรือซีดี เพลง2. เช่น 52x32x52x หมายถึง ความเร็วในการเขียนสูงสุด 52x สำหรับ CDR ความเร็วในการเขียนสูงสุด 32x สำหรับ ... เช็คแผ่น CDR ที่คุณนำมาใช้ในการบันทึกข้อมูลว่าเป็นแผ่นแบบ 8x ... และ ประเภทของแผ่นที่สามารถนำมาใช้ได้ด้วยความเร็วสูงสุดเท่าไหร่3. การสร้างสิ่งที่เลียนแบบของจริงขึ้นมา เช่น virtual memory ก็จัดว่าเป็น virtualization แบบหนึ่ง (เอาฮาร์ดดิสก์มาทำเป็นหน่วยความจำ) หรือแม้กระทั่งการที่คุณแบ่งฮาร์ดดิสก์ตัวหนึ่งออกเป็นพาร์ติชันก็อาจจัดว่าเป็นการทำ virtualization เช่นกัน (มีฮาร์ดดิสก์ตัวเดียว แต่ทำเหมือนกับว่ามีหลายตัว) โปรแกรมอย่าง VMWARE ก็จัดว่าเป็น virtualization ประเภทหนึ่ง (เป็น Operating System Virtualization) จริง ๆ แล้ว virtualization นั้นสามารถแบ่งได้ป็นหลายประเภท เช่น network virtualization, storage virtualization และ server virtualization เป็นต้น4. ความเร็วในการเขียนแผ่นดีวีดีนั้นได้ทลายขีดจำกัดเดิมๆ ไปหมดสิ้นแล้วด้วยความเร็วที่สูงถึง 20X สำหรับแผ่น DVD±R ด้วยความเร็วสูงพร้อมเทคโนโลยีอย่าง SecurDisc™ ที่ช่วยป้องกันข้อมูลของคุณด้วย เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดจากLG และ Nero เหนือกว่าด้วยระบบป้องกันข้อมูล 4 รูปแบบ - Password Protection สามารถกำหนดรหัสผ่านให้กับแผ่น CD และ DVD ได้ - Digital Signature ใส่ลายเซ็นดิจิตอลเพื่อยืนยันว่าข้อมูลมาจากผู้ส่งตัวจริง - Data Integrity Check ระบบตรวจสอบการเสื่อมสภาพของแผ่น เพื่อป้องกันข้อมูลสูญหายจากแผ่นที่หมดอายุการใช้งาน - Data Reliability ระบบสำรองข้อมูลในแผ่นเพื่อการกู้ข้อมูลในกรณีแผ่นเกิดการขูดขีด นอกจากนี้ H55L ยังมีความเร็วในการเขียน DVD± R ที่ความเร็ว 20x แล้วยังสามารถเขียนแผ่น DVD±R DL ได้ที่ความเร็วสูงถึง 10x และแผ่น DVD-RAM ที่ความเร็ว 10x และสามารถเขียนแผ่น CD-R 48x และ CD-RW ที่ความเร็วสูงถึง 32x และยังใช้มาตรฐานการเชื่อมต่อแบบ E-IDE ที่มีให้ความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลสูงถึง 33MB/s ซึ่งรองรับการทำงานร่วมกับโหมด UDMA-33 ตัวไดร์ฟมาพร้อมกับหน่วยความจำหรือ Buffer ที่ให้มากถึง 2 MB ทำงานผสานกับ เทคโนโลยี้ Buffer UnderRun ได้เป็นอย่างดี ซึ่งลดโอกาสที่จะทำให้การเขียนแผ่นเสียหายจากการที่ข้อมูลไม่สามารถส่งให้ได้ทัน และที่ขาดไม่ได้ก็คือเรื่องของการทำ LightScribe ที่กลายเป็นจุดเด่นไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ด้วยมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับมาอย่างช้านาน และได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จึงทำให้มั่นใจได้ว่า GSA-H55L นั้นจะเป็นไดร์ฟที่ตอบโจทย์ความต้องการได้อย่างที่ต้องการ Write Speed : DVD+/- R = 20x DVD+/- RW = 8x,6x DVD+/- R DL = 10x DVD-RAM = 12x CD-R = 48x CD-RW = 32x Read Speed : DVD-ROM(SL) = 16x DVD-ROM(DL) = 12x DVD-Video(CSS) = 8x DVD-R/-RW/-R DL= 16x/12x/12x DVD-+R/+RW/+RDL = 16x/12x/12x DVD-RAM = 5x/12x CD-R/RW/ROM = 48x /40x/48x CD-DA = 40x Disc Format : N/A Interface : E-IDE Access Time : N/A Feature : SecureDisc OS Support: MS-Windows 98 / NT4.0 / ME / 2000 / XP5. ตอบ สำหรับ การติดตั้ง CDROM นั่น เราก็เลือกช่องว่างๆ เหมาะๆ ซักช่องนึง แกะฝาที่ปิดออก โดยการดันแรงๆ จากด้านใน ให้ฝาหลุดออกมาด้านหน้า แล้วจึงนำ CDROM ใส่เข้าไป ดังภาพด้านล่าง จากนั่นยึดสกรูให้แน่นๆ นำสายไฟหัวใหญ่ เสียบเข้าไป เพื่อเป็นพลังงานของ CDROMจากนั่นนำสาย Cable หรือสายแพ มาเสียบเพื่อใช้ในการส่งข้อมูลเข้าออกระหว่าง CDROM และคอมพิวเตอร์ โดยด้าน หนึ่งจะเสียบที่ด้านหลังของ CDROM โดยสายแพนั่น ถ้าสังเกตุดีดี จะมีแถบสีแดงอยู่ด้านหนึ่ง ซึ่งเป็นสัญญาลักษณ์ หมายถึง สายที่ต่อเข้ากับ ขาที่ 1 สังเกตดูจากรูปจะเห็นแถบสีแดงที่สาย Cableจากรูปด้านบนจะเห็นการเสียบของสาย Cable หรือเรียกว่าสายแพ ด้านหนึ่ง เข้ากับ CDROM โดยเน้นเลยนะครับว่า ให้แถบสีแดงเสียบเข้ากับขาที่หนึ่ง โดยมีเทคนิคการสังเกตุ เล็กน้อยคือ แถบสีแดงจะหันเข้าไกล้สายไฟ สาย Power เสมอ ดูภาพด้านบนสิครับ แถบแดงอยู่ไกล้ๆ กันกับ สายไฟนำปลายอีกด้านหนึ่งต่อเข้ากับ Seconary IDE บนบอร์ด ถ้าไม่รู้ว่าอยู่ตำแหน่งใหนก็ดูได้จากคู่มือของ Mainboard เพราะว่าจะต้องมีบอกอยู่แล้วอย่างแน่นอน สังเกตุดีดี ส่วนใหญ่จะเขียนใว้บน Mainboard เสมอ โดยหันด้านแถบแดง เสียบลงบนขาที่ 1 เสมอ โดยจะเขียนเอาใว้ในคู่มือ หรือบน Board ว่า ด้านไหนเป็นขาที่ 1 6. คอมพิวเตอร์ระบุคุณลักษณะว่า Support : DVD+/-R , DVD+/- RW , DVD+/-R DL DVD RAM , DVD Video , CD-R , CD-RW มีความหมายว่าอย่างไร อธิบาย7. การเชื่อมต่อสัญญาณของ CD-DVD ROM มีกี่แบบ อะไรบ้าง6. ค่าย DVDForum ส่งเข้าประกวด ได้แก่ DVD-R, DVD-RW, DVD-R DL, DVD-RAM, DVD-ROMค่าย DVD+RW Alliance ส่งเข้าประกวด ได้แก่ DVD+R, DVD+RW, DVD+R DLในด้านความจุนั้นDVD-R และ DVD-RW เป็นแบบชั้นเดียว มีความจุ 4,706,074,624 bytes หรือเท่ากับ 4488MBDVD+R และ DVD+RW ก็เป็นแบบชั้นเดียว มีความจุ 4,700,372,992 bytes หรือเท่ากับ 4482MBDVD+R DL เป็นแบบสองชั้น (DL==Dual Layer) มีความจุ 8,547,993,600 bytes หรือเท่ากับ 8152MBDVD-R DL เป็นแบบสองชั้น ขณะนี้ยังอยู่ในห้องแล็ปคาดว่าภายในปีนี้จะเริ่มออกวางตลาด แต่ราคาคงแพงหูฉี่ ความจุก็คงประมาณ DVD+R DLDVD-ROM เป็นได้ทั้งชั้นเดียวหรือสองชั้น ความจุประมาณ DVD-R หรือ DVD+R DLDVD-RAM มี 2 แบบคือแบบเก่าและแบบใหม่ ทั้งสองแบบมีทั้งแบบด้านเดียว (Single Side) และแบบสองด้าน (Double Side)เวลาใช้งานแบบสองด้านผู้ใช้จะต้องทำการกลับข้างแผ่นเอง ทุกด้านจะเป็นแบบชั้นเดียว (Single Layer) โดยมีความจุดังนี้2,6xx,xxx,xxx bytes เป็นแบบเก่า ชั้นเดียว ด้านเดียว5,2xx,xxx,xxx bytes เป็นแบบเก่า ชั้นเดียว สองด้าน4,7xx,xxx,xxx bytes เป็นแบบใหม่ ชั้นเดียว ด้านเดียว9,4xx,xxx,xxx bytes เป็นแบบใหม่ ชั้นเดียว สองด้านในด้านความเร็วในการเขียนของเครื่องเขียนนั้น ความเร็วสูงสุดของเครื่องเขียนที่เขียนแผ่นแบบต่างๆได้ขณะนี้อยู่ที่16x สำหรับ DVD-R และ DVD+R โดยเครื่องเขียนดีวีดีที่เขียนได้ทั้งสองแบบส่วนใหญ่จะเขียน DVD+R ได้เร็วกว่า DVD-R เช่น 16x DVD+R 12x DVD-R หรือ 12x DVD+R 8x DVD-R8x สำหรับ DVD+RW6x สำหรับ DVD-RW, DVD-R DL, DVD+R DL5x สำหรับ DVD-RAMโดย 1x ของดีวีดี = 9x ของซีดี = 9*150kB/s = 1350kB/sในด้านราคาและความเร็วของแผ่นนั้นที่ความเร็วการเขียนเท่ากัน และที่คุณภาพของแผ่นเท่ากัน DVD-R จะถูกกว่า DVD+R นิดหน่อยที่คุณภาพของแผ่นเท่ากัน DVD-R และ DVD+R ที่ 16x ยังหายาก 12x ยังแพงอยู่ 8x ถูกลงมา 4x ก็ถูกสุดแผ่น DVD-R หรือ DVD+R บางแผ่นที่บอกว่ารับรองการเขียนได้ที่ 4x แต่จริงๆอาจเขียนได้ถึง 6x หรือ 8x นั้น จะต้องระวังเรื่องคุณภาพการเขียนและการอ่านกลับ ไม่ควรเก็บข้อมูลสำคัญไว้กับแผ่นที่เขียนมาด้วยความเร็วสูงกว่าที่ระบุไว้ ที่แผ่นแผ่น DVD+R DL ตอนนี้มีแค่ 2.4x และ 4x ราคายังแพงมากในขณะนี้ ถ้าบ้านไม่รวยก็ยังไม่คุ้มที่จะซื้อใช้แผ่น DVD-R DL ยังไม่มีวางขายแผ่น DVD-RW หรือ DVD+RW ตอนนี้มีไม่เกิน 4x ราคาแพงกว่า DVD-R หรือ DVD+R แต่ถูกกว่า DVD+R DLแผ่น DVD-RAM ตอนนี้มีไม่เกิน 5x ราคาแพงกว่า DVD-RW หรือ DVD+RW แต่ถูกกว่า DVD+R DLในด้านความเข้ากันได้กับเครื่องอ่าน (เขียนแล้วเอาไปอ่านกับเครื่องอื่นได้หรือไม่ได้มากน้อยแค่ไหน)แผ่น DVD-ROM มีความเข้ากันได้กับเครื่องอ่านมากที่สุด (ไม่ว่าจะเป็นเครื่องอ่านแบบ DVD-ROM ที่ใช้ในคอมพ์ หรือเครื่องเล่นดีวีดีที่ต่อเข้าทีวี) เนื่องจากเป็นแผ่นที่ปั๊มมาจากโรงงาน โดยปั๊มจากโมล ไม่ได้ถูกเขียน(หรือถ้าจะเรียกให้ถูกคือ เบอร์น)มาด้วยแสงเลเซอร์จากเครื่องเขียนดีวีดีความเข้ากันได้รองลงมาจาก DVD-ROM ของแผ่นแบบอื่นเรียงตามลำดับคือ DVD-R (93%), DVD+R (89%), DVD-RW (80%), DVD+RW (79%), DVD+R DL (??), DVD-RAM (??)ในด้านความสามารถในการเขียนแผ่น DVD-R, DVD+R, DVD-R DL, DVD+R DL เขียนแล้วลบไม่ได้ เขียนทับไม่ได้แผ่น DVD-RW, DVD+RW เขียนแล้วลบได้ เขียนทับได้แผ่น DVD-R สามารถเขียนแบบทีละนิด ไปเรื่อยๆจนเต็ม (ที่เรียกว่าการเขียนแบบ multi-session) ได้เช่นเดียวกับ DVD+R หลายคนเข้าใจผิดว่า DVD-R เขียน multi-session ไม่ได้ จริงๆแล้วเขียนได้ เพียงแต่เครื่องอ่านหลายเครื่องที่อ่าน DVD-R ได้ อาจจะอ่าน DVD-R แบบ multi-session ไม่ได้ บางรุ่นอาจต้องอัปเกรด firmware ก่อนจึงจะอ่านได้ นอกจากนี้ก็ยังมีปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อก็คือตัว OS เช่น Windows บางเวอร์ชั่นก็อ่าน DVD-R แบบ multi-session ไม่ได้ ไม่แน่ใจว่ามีรุ่นไหนบ้าง แต่ Windows XP นั้นอ่านได้ นอกจากนี้การเขียน multi-session ของ DVD-R นั้นจะใช้แก็ปมากกว่า DVD+R เช่นถ้าทดลองเขียนข้อมูลขนาด 10MB ทีละนิดเขียนไป 100 ครั้งด้วยข้อมูลเดียวกัน ทดลองทั้งแผ่น DVD-R และ DVD+R แล้วลองดูว่าใช้พื้นที่ไปแล้วเท่าไรและหลืออีกเท่าไร จะพบว่าแผ่น DVD+R จะเหลือที่ว่างเพื่อเขียนเพิ่มมากกว่าแผ่น DVD-R (ต่างกันแค่ไหนนั้นจำไม่ได้ แต่มากพอสมควร)ต่างกันแค่ไหนระหว่าง multi-session ในแบบของ DVD-R กับ DVD+R นั้น ก็ต่างกันมากทีเดียว โดย DVD-R นั้นจะต้องเสียพื้นที่ถึง 32-96 MB ระหว่างสอง session แรก และ 6-18 MB ระหว่างสอง session ต่อๆ ไป ดังนั้นสมมติว่าตอนนี้เรามีอยู่แล้ว 10 session ก็แสดงว่าอาจต้องเสียพื้นที่ไปแล้วมากถึง 258 MB (มากกว่า 5% ของพื้นที่ทั้งหมดบนแผ่น) ส่วน DVD+R นั้น จะเสียพื้นที่ระหว่าง session เพียง 2 MB เท่านั้นไม่ว่าจะเป็นระหว่าง session ไหน ดังนั้นถ้าเราเขียนไปแล้ว 10 session ก็แสดงว่าเราเสียพื้นที่ไปแค่ 18 MB เท่านั้น ที่เป็น 18 MB ไม่ใช่ 20 MB ก็เพราะว่า session ที่ 10 นั้นไม่ต้องเสียพื้นที่ 2 MB เพื่อปิดท้ายเหมือนของ DVD-RDVD+R, DVD+RW, DVD+R DL มีความสามารถที่ไม่มีในคู่แข่ง (แบบ -) คือ ความสามารถที่เรียกว่า bitsetting ซึ่งเป็นการเปลี่ยน book type ของแผ่นให้กลายเป็น DVD-ROM ทำให้ความเข้ากันได้ของ DVD+R, DVD+RW, DVD+R DL เพิ่มขึ้นไปใกล้เคียง หรือมากกว่า คู่แข่งแบบ - เพราะเครื่องอ่านโดนหลอกว่าแผ่นนี้เป็นแผ่น DVD-ROM (แผ่นปั๊ม) ไม่ใช่แผ่น DVD+R หรือ DVD+RW หรือ DVD+R DL บางคนบอกว่าตอนนี้ DVD+R ที่เปลี่ยน book type เป็น DVD-ROM มีความเข้ากันได้เทียบเท่าแผ่น DVD-ROM จริงๆเลยทีเดียว ซึ่งความสามารถนี้ทำให้แผ่น DVD+R/RW/R DL ล้ำหน้า DVD-R/RW เพราะ DVD-R/RW นั้นไม่สามารถเปลี่ยน book type ได้ อนึ่ง bitsetting นี้ตัวเครื่องเขียนจะต้องสนับสนุนด้วย เครื่องเขียนบางเครื่องทำ bitsetting ได้เฉพาะแผ่น DVD+R หรือบางเครื่องทำได้เฉพาะ DVD+R DL บางเครื่องทำได้ครบทั้ง DVD+R, DVD+RW, DVD+R DL บางเครื่องเปลี่ยนให้โดยอัตโนมัติ บางเครื่องต้องเข้าไปเซ็ตก่อน ต้องดูเป็นเครื่องๆไป ทั้งนี้อาจขึ้นกับ firmware ด้วย เครื่องเดียวกันตอนนี้อาจทำไม่ได้แต่อัปเกรด firmware แล้วอาจทำได้แผ่น DVD-RAM มีความสามารถในการเขียนที่น่าอัศจรรย์ที่หลายคนไม่รู้ คือ การเขียนข้อมูลแบบ random ได้เหมือนกับฮาร์ดดิสค์ ยกตัวอย่างคือ เปิดไฟล์ขึ้นมาตรงๆจากแผ่น DVD-RAM แล้วแก้ไฟล์ แล้วก็เซฟไฟล์ไปตรงนั้นเดี๋ยวนั้นได้เลยเหมือนกับทำบนฮาร์ดดิสค์ ไม่มีแผ่นแบบไหนทำแบบนี้ได้ และไม่ค่อยมีเครื่องเขียนเครื่องไหนเขียน DVD-RAM ได้ และที่สำคัญ (ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ DVD-RAM ไม่ค่อยแพร่หลาย) คือไม่ค่อยมีเครื่องอ่านเครื่องไหนที่อ่านแผ่น DVD-RAM ได้ เครื่องเขียนที่เขียนและอ่านแผ่น DVD-RAM ได้คือเครื่องเขียนหลายรุ่นจากค่าย LG และค่าย Panasonic แผ่น DVD-RAM เป็นที่นิยมกันในญี่ปุ่น โดยจะใช้อัดหนังด้วยเครื่อง DVD Recorder (คือเครื่องอัดที่ใช้อัดหนังจากทีวีแบบเดียวกับเครื่อง Video VHS เพียงแต่อัดลงแผ่น DVD) แล้วเอามาแก้ไขตัดต่อบนคอมพ์ โดยใช้เครื่องเขียนดีวีดีที่อ่านเขียน DVD-RAM ได้ ทำให้ไม่จำเป็นต้องย้ายข้อมูลทั้งหมดจากแผ่น DVD-RAM ลงฮาร์ดดิสค์ก่อน เป็นการประหยัดเวลาได้มาก เครื่อง DVD Recorder ที่อัดลง DVD-RAM ได้ก็เครื่องจากค่าย Panasonic หลายรุ่น ดังนั้นใครมี LG ก็อาจลองเล่นความสามารถนี้ของ DVD-RAM ดูได้ ไม่ต้องถึงขนาดซื้อ DVD Recorder มาลอง แค่ใช้เก็บข้อมูลแล้วลองแก้ไขบนแผ่นโดยตรง แล้วจะติดใจ7. ออฟติคอลไดรฟ์ (Optical Drive) อุปกรณ์ประเภท I/O (Input/Output Device) ส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีหน้าที่ในการนำข้อมูลเข้าและออกจากระบบ ผ่านกระบวนการทำงานของแสงเลเซอร์ ปัจจุบันสื่อและอุปกรณ์ที่เป็นออฟติคอลไดรฟทั้งหลายมีการแตกแขนงออกไปเรื่อยๆโดยเฉพาะดีวีดี จนอาจทำให้บางท่านสับสนต่อการใช้งานก็เป็นได้ โดยการแตกแขนงออกไปนั้นเป็นในเรื่องของเทคโนโลยีของไดรฟ์แต่ละตัวรวมถึงกระบวนการทำงานของแสงเลเซอร์ที่กำลังจะพลัดใบไปสู่สำแสงสีฟ้า (Blu-RayCD-ROM อุปกรณ์อ่านข้อมูลชนิดซีดี ที่ถูกบรรจุให้อยู่คู่คอมพิวเตอร์มาอย่างนมนาน จวบจนปัจจุบันพัฒนาการทางด้านความเร็วของอุปกรณ์ประเภทนี้ทะยานเข้าสู่เลขหลัก 60X แต่กลับกลายเป็นว่าปัจจุบันพิมพ์นิยมคือความเร็ว 52X ส่วนหนึ่งเป็นเพราะหาซื้อได้ง่ายCD ReWriter อุปกรณ์เพื่อการอ่านและเขียนแผ่นประเภทซีดี ซึ่งเป็นการพัฒนาให้ไดรฟ์ประเภทซีดีสามารถเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดีได้ ปัจจุบันความเร็ว 52X 32X 52X คือความเร็วสูงสุด และทำตลาดได้ดีที่สุดของไดรฟ์ประเภทนี้ ซึ่งคงไม่มีการพัฒนาความเร็วไปมากกว่านี้ เพราะการพัฒนานั้นจะไปเน้นดีวีดีซะมากกว่า สำหรับตัวเลข 3 ตัวที่ได้เอ่ยไปCombo Drive อุปกรณ์ที่รวมการทำงานของไดรฟ์ CD ReWriter (อ่าน/เขียน) และ DVD-ROM(อ่านอย่างเดียว) เข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งจุดสังเกตความเป็น Combo Drive จะมีสัญลักษณ์ CD-RW และ DVD-ROM คู่กัน8. ตอบ เปรียบเทียบความจุของแผ่นดีวีดีกับสื่อแบบเดิมความจุที่มหาศาลเป็นจุดเด่นของดีวีดีที่เหนือกว่าสื่อแบบเดิม ซึ่งดีวีดี 1 แผ่นจะมีความจุเท่ากับ ซีดี 7 แผ่น และ เท่ากับฟล๊อปปี้ดิสก์ 3,357 แผ่น เคล็ดลับที่ทำให้ดีวีดีจุได้มากกว่านั้นมีดังนี้ประการแรก คือโครงสร้างของการจัดเก็บข้อมูลภายในของดีวีดีที่มีขนาดเล็กกว่าจึงจุได้อัดแน่นมากกว่าประการที่ 2 คือ การใช้แสงเลเซอร์อ่านข้อมูลที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่านั่นคือดีวีดีใช้แสงเลเซอร์ที่มีความยาวคลื่นแค่ 635-650นาโนเมตรขณะที่ซีดีรอมจะใช้เลเซอร์ที่มีความยาวกว่าในระดับ 750 นาโนเมตรประการที่ 3 ดีวีดีสามารถเก็บได้มากกว่าซีดี 1 ชั้น (Layer) ถ้าเป็นซีดีรอมจะเก็บข้อมูลได้ชั้นเดียว แต่ดีวีดีสามารถเก็บได้ 2 ชั้นเปรียบเทียบคุณลักษณะของซีดีกับดีวีดีคุณลักษณะ ดีวีดี ซีดีเส้นผ่าศูนย์กลาง 120mm 120 mmความหนา 0.6 mm 1.2 mmระยะห่างระหว่างแทรค 0.74 nanometers 1.6 nanometersความยาวของหลุม 0.40 nanometers 0.834 nanometersความยาวคลื่นของเลเซอร์ 640 nm 780 nmความจุของข้อมูล 4.7 GB 0.68 GBจำนวนชั้น (Layer) 1,2,4 1เปรียบเทียบ DVD กับ CDคุณสมบัติ DVD/ CDขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 120 มิลลิเมตร 120 มิลลิเมตรความหนารวม 1.2 มิลลิเมตร 1.0 มิลลิเมตรความหนา 0.6 mm. ต่อด้าน มีเพียงด้านเดียวความยาวของเลเซอร์ 650-635 นาโนเมตร 780 นาโนเมตร ( infrared)ความกว้างของแทรค 0.74 ไมครอน 1.6 ไมครอนความยาวของ pit และ land 0.4 ไมครอน 0.83 ไมครอนจำนวนชั้นที่บันทึกข้อมูลได้ 1 หรือ 2 1ความจุต่อหน้า Single Layer 4.7 GBDouble Layer 8.5 GB 680 MB โดยประมาณคุณสมบัติ DVD/ CDอัตราการส่งผ่านข้อมูลต่อวินาที Max. total of combined audio and video = 9.8Mbps Max. sum of Elementary streams+system overhead = 11.08 Mbps(1xDVD) 1.44 Mbps (video,audio)(1xCD speed)รูปแบบการบีบอัดของภาพวิดีโด MPEG-2 MPEG-1Sound Tracks Mandatory (NTSC):2 chanelDolby Digital(AC-3) Optional: up to 8 streams of data available 2 Chanael-MPEGสนับสนุนตัวอักษรบรรยาย มากถึง 32 ภาษาและเลือกภาษาได้ ได้เพียงคำบรรยายภาษาเดียวการแก้ไขข้อผิดพลาด Reed Solomon Product Codeส่งผ่านเฟรมต่อวินาที 25 Hz frames per secAspect ratio 4:3, 16:9ระบบเสียง Dolby AC-3 sampling rate 48 Khzหน่วยความจำสนับสนุนวิดีโอ 1.85 Mb (MPEG-2) 328 Kb (MPEG-1)9. ตอบ แผ่นดิสก์แบบอ่อน หรือ ฟลอปปีดิสก์ (floppy disk) หรือที่นิยมเรียกว่าแผ่นดิสก์หรือ ดิสเกตต์ (diskette) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูล ที่อาศัยหลักการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็กโดยทั่วมีลักษณะบางกลมและบรรจุอยู่ในแผ่นพลาสติกสี่เหลี่ยมคอมพิวเตอร์สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบนฟลอปปีดิสก์ผ่านทางฟลอปปีดิสก์ไดร์ฟแผ่นดิสก์ยุคแรก มีขนาด 8 นิ้ว สร้างขึ้นปี ค.ศ. 1971 เพื่อใช้กับเครื่อง System/370 ของบริษัทไอบีเอ็ม(IBM) สร้างโย เดวิด โนเบิล ในทีมงานของ อะลัน ซูการ์ต ซึ่งต่อมาซูการ์ตแยกตัวออกไปตั้งบริษัททำวิจัยเกี่ยวกับหน่วยความจำ ชื่อ บริษัทซูการ์ต ในปี ค.ศ. 1973 แต่เพียงหนึ่งปีต่อมา บริษัทก็ขาดทุนและซูการ์ตก็ถูกไล่ออกจากบริษัทตัวเองนักวิจัยของบริษัทซูการ์ต ชื่อ จิม แอดคิสสัน ได้รับการติดต่อจากAn Wang ดู พื่อให้ลดขนาดแผ่นดิสก์ให้เล็กลง การติดต่อเกิดขึ้นที่บาร์ในบอสตัน และขนาดแผ่นดิสก์ใหม่ที่คุยกันคือขนาดเท่ากระดาษเช็ดมือในร้าน ซึ่งมีขนาด 51/4 นิ้ว ต่อมาไม่นาน บริษัทซูการ์ต ก็ผลิตแผ่นดิสก์ขนาดนี้ได้และได้รับความนิยม ในตอนแรกแผ่นมีความจุ 110KB ต่อมาบริษัทTandon พัฒนาให้ความจุสูงขึ้น โดยใช้วิธีเก็บข้อมูลสองหน้า (double density) ทำให้สามารถเก็บได้ 360 KBแผ่น ดิสก์เป็นที่นิยมในท้องตลาดอย่างสูง ทำให้หลายๆบริษัททุ่มทุนวิจัยทางด้านนี้ ในปี ค.ศ. 1984 บริษัทแอปเปิล ผลิตเครื่องที่ใช้แผ่นดิสก์ขนาด 3.5 นิ้วของบริษัทโวนี่ และผลักดันให้แผ่น 3.5 นิ้ว เป็นมาตรฐานในวงการอุตสาหกรรมของอเมริกา ความจุเริ่มแรกของแผ่นดิสก์ขนาด 3.5 นิ้ว คือ 360KB สำหรับหน้าเดียว (single density) และ720 KB สำหรับสองหน้า และต่อมาก็สามารถเพิ่มความจุเป็น1.44 MB โดยการเพิ่มความจุต่อหน้า (high-density) ต่อมา ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็พบวิธีทำให้มีความจุเป็น 2.88 MB(extended-density) โดยการเปลี่ยนแปลงวิธีการเคลือบแผ่น แต่รุ่นสุดท้ายนี้ไม่ได้รับความนิยม เพราะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในขณะนั้น ต้องการความจุที่สูงกว่านี้ แผ่นดิสก์จึงถูกแทนที่ด้วยหน่วยจัดเก็บข้อมูลแบอื่นไป เช่น ซีดีรอม และดีวีดีรอมนางสาวมลิวรรณ บุญชัยโย เลขที่ 18 ชั้น สบค 1/3นางสาวพัชราวดี พลชัยมาตย์ เลขที่ 38 ชั้น
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น